พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่ตําบลหนองงูเหลือม อําเภอเฉลิมพระเกียรติ และตําบลโตนด ตําบลใหม่ อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2567

พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่ตําบลหนองงูเหลือม อําเภอเฉลิมพระเกียรติ และตําบลโตนด ตําบลใหม่ อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2567

ทนายความคดีปกครอง ทนายความคดีเวนคืน ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการเวนคืน โทร. 063-6364547

act-140

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมีความจําเป็นต้องสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 290 สายถนนวงแหวนรอบเมืองนครราชสีมา ตอนบ้านบึงขามทะเลสอ – บ้านหนองบัวศาลา บริเวณจุดตัดระหว่างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 290 ในท้องที่ตําบลหนองงูเหลือม อําเภอเฉลิมพระเกียรติ และตําบลโตนด ตําบลใหม่ อําเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา เพื่ออํานวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การจราจรและการขนส่งอันเป็นกิจการ สาธารณูปโภค และเพื่อนําที่ดินไปชดเชยให้เกิดความเป็นธรรมแก่เจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืน สมควรกําหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทําการสํารวจเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริง เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องได้มาโดยแน่ชัด จึงจําเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้

———————————————

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง

– ปรึกษาคดี ติดต่อ 063-6364547
– Line: @prueklaw 

สำนักงานกฎหมาย พฤกษ์ แอนด์ พาร์ทเนอร์
สำนักงานทนายความคดีปกครอง ทนายความคดีปกครอง

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500 กิโลโวลต์ ท่าตะโก – สามโคก (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า)

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500 กิโลโวลต์ ท่าตะโก – สามโคก (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า)

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง พร้อมให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงข่ายไฟฟ้า ที่ดินอยู่ในแนวเขตสายไฟฟ้า การฟ้องเรียกค่าทดแทนเพิ่ม การอุทธรณ์เงินค่าทดแทน การฟ้องคดีเกี่ยวกับการเวนคืนและการรอนสิทธิ การจัดทำคำอุทธรณ์คัดค้านการกำหนดแนวเขต การฟ้องเพิกถอนประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การฟ้องเรียกค่าทดแทน ทนายความคดีโครงข่ายไฟฟ้า ปรึกษาคดี โทร. 063-6364547

erc-53

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน

สำนักงานกฎหมาย พฤกษ์ แอนด์ พาร์ทเนอร์
สำนักงานทนายความคดีปกครอง

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500 กิโลโวลต์ บางสะพาน 2 – สุราษฎร์ธานี 2 วงจรที่ 3 และวงจรที่ 4 (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า)

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500 กิโลโวลต์ บางสะพาน 2 – สุราษฎร์ธานี 2 วงจรที่ 3 และวงจรที่ 4 (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า)

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง พร้อมให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงข่ายไฟฟ้า ที่ดินอยู่ในแนวเขตสายไฟฟ้า การฟ้องเรียกค่าทดแทนเพิ่ม การอุทธรณ์เงินค่าทดแทน การฟ้องคดีเกี่ยวกับการเวนคืนและการรอนสิทธิ การจัดทำคำอุทธรณ์คัดค้านการกำหนดแนวเขต การฟ้องเพิกถอนประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การฟ้องเรียกค่าทดแทน ทนายความคดีโครงข่ายไฟฟ้า ปรึกษาคดี โทร. 063-6364547

erc-52

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน

สำนักงานกฎหมาย พฤกษ์ แอนด์ พาร์ทเนอร์
สำนักงานทนายความคดีปกครอง

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500 กิโลโวลต์ บางละมุง 2 – ปลวกแดง (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า)

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500 กิโลโวลต์ บางละมุง 2 – ปลวกแดง (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า)

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง พร้อมให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงข่ายไฟฟ้า ที่ดินอยู่ในแนวเขตสายไฟฟ้า การฟ้องเรียกค่าทดแทนเพิ่ม การอุทธรณ์เงินค่าทดแทน การฟ้องคดีเกี่ยวกับการเวนคืนและการรอนสิทธิ การจัดทำคำอุทธรณ์คัดค้านการกำหนดแนวเขต การฟ้องเพิกถอนประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การฟ้องเรียกค่าทดแทน ทนายความคดีโครงข่ายไฟฟ้า ปรึกษาคดี โทร. 063-6364547

erc-51

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน

สำนักงานกฎหมาย พฤกษ์ แอนด์ พาร์ทเนอร์
สำนักงานทนายความคดีปกครอง

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 115 กิโลโวลต์ ตาก 1 – แม่สอด (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า)

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 115 กิโลโวลต์ ตาก 1 – แม่สอด (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า)

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง พร้อมให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงข่ายไฟฟ้า ที่ดินอยู่ในแนวเขตสายไฟฟ้า การฟ้องเรียกค่าทดแทนเพิ่ม การอุทธรณ์เงินค่าทดแทน การฟ้องคดีเกี่ยวกับการเวนคืนและการรอนสิทธิ การจัดทำคำอุทธรณ์คัดค้านการกำหนดแนวเขต การฟ้องเพิกถอนประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การฟ้องเรียกค่าทดแทน ทนายความคดีโครงข่ายไฟฟ้า ปรึกษาคดี โทร. 063-6364547

erc-50

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน

สำนักงานกฎหมาย พฤกษ์ แอนด์ พาร์ทเนอร์
สำนักงานทนายความคดีปกครอง

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500 กิโลโวลต์ บางสะพาน 2 – สุราษฎร์ธานี 2 วงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า)

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500 กิโลโวลต์ บางสะพาน 2 – สุราษฎร์ธานี 2 วงจรที่ 1 และวงจรที่ 2 (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า)

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง พร้อมให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงข่ายไฟฟ้า ที่ดินอยู่ในแนวเขตสายไฟฟ้า การฟ้องเรียกค่าทดแทนเพิ่ม การอุทธรณ์เงินค่าทดแทน การฟ้องคดีเกี่ยวกับการเวนคืนและการรอนสิทธิ การจัดทำคำอุทธรณ์คัดค้านการกำหนดแนวเขต การฟ้องเพิกถอนประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การฟ้องเรียกค่าทดแทน ทนายความคดีโครงข่ายไฟฟ้า ปรึกษาคดี โทร. 063-6364547

erc-49

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน

สำนักงานกฎหมาย พฤกษ์ แอนด์ พาร์ทเนอร์
สำนักงานทนายความคดีปกครอง

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

ประกาศกรมทางหลวง เรื่อง การเข้าครอบครองและใช้อสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตําบลสถาน และตําบลเวียง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ก่อนการเวนคืน กรณีมีเหตุจําเป็นเร่งด่วน

ประกาศกรมทางหลวง เรื่อง การเข้าครอบครองและใช้อสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตําบลสถาน และตําบลเวียง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ก่อนการเวนคืน กรณีมีเหตุจําเป็นเร่งด่วน

ทนายความคดีปกครอง ทนายความคดีเวนคืน ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการเวนคืน โทร. 063-6364547

act-139

ประกาศกรมทางหลวง เรื่อง การเข้าครอบครองและใช้อสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตําบลสถาน และตําบลเวียง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ก่อนการเวนคืน กรณีมีเหตุจําเป็นเร่งด่วน

ตามที่ได้ประกาศใช้บังคับพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตําบลสถาน และตําบลเวียง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2564 นั้น กรมทางหลวงผู้เป็นเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนและการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2562 และกรมทางหลวงผู้เป็นเจ้าหน้าที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตําบลสถาน และตําบลเวียง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2564 เพื่อสร้างทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 1423 สายทางเลี่ยงเมืองเชียงของ เห็นว่า การสร้างทางหลวงแผ่นดินสายดังกล่าว มีเหตุจําเป็นเร่งด่วน หากการเวนคืนเนิ่นช้าไปจะเป็นอุปสรรคแก่การก่อสร้างและเป็นอุปสรรคแก่ประโยชน์ ของรัฐ ในการอํานวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การจราจรและการขนส่งอันเป็นกิจการสาธารณูปโภคจําเป็นต้องใช้ที่ดินเพื่อการดังกล่าว

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 28 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนและ การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2562 และมาตรา 68/1 แห่งพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติทางหลวง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 กรมทางหลวงโดยความเห็นชอบ ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม จึงออกประกาศการเข้าครอบครองและใช้อสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตําบลสถาน และตําบลเวียง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ก่อนการเวนคืน กรณีมีเหตุ จําเป็นเร่งด่วน เพื่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1423 สายทางเลี่ยงเมืองเชียงของ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ เวนคืนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจเข้าครอบครองและใช้อสังหาริมทรัพย์ ตามพระราชบัญญัติว่าด้วย การเวนคืนและการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2562 ได้

ทั้งนี้ ขอให้ผู้ที่มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนมาติดต่อขอรับเงินค่าทดแทน ณ แขวงทางหลวง เชียงรายที่ 2 หากผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนไม่มารับเงินค่าทดแทน กรมทางหลวงจะนําเงินค่าทดแทน ไปวางต่อสํานักงานวางทรัพย์หรือฝากไว้กับธนาคารออมสินสาขาที่อสังหาริมทรัพย์นั้นตั้งอยู่ โดยแยกฝากเป็นบัญชีเฉพาะรายในชื่อของผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทน ถ้าผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าทดแทนไม่ไปขอรับเงิน ภายในสิบปีนับแต่วันที่มีหนังสือแจ้งให้มารับเงินค่าทดแทน ให้เงินนั้นตกเป็นของแผ่นดินตามมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนและการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. 2562

ประกาศ ณ วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2567

———————————————

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง

– ปรึกษาคดี ติดต่อ 063-6364547
– Line: @prueklaw 

สำนักงานกฎหมาย พฤกษ์ แอนด์ พาร์ทเนอร์
สำนักงานทนายความคดีปกครอง ทนายความคดีปกครอง

พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่แขวงตลิ่งชัน แขวงฉิมพลี แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน แขวงบางขุนนนท์ แขวงบางขุนศรี แขวงศิริราช แขวงบ้านช่างหล่อ แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด แขวงชนะสงคราม แขวงพระบรมมหาราชวัง แขวงตลาดยอด แขวงบวรนิเวศ แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร แขวงวัดโสมนัส แขวงบ้านบาตร แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย แขวงสี่แยกมหานาค แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต แขวงทุ่งพญาไท แขวงถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี แขวงปทุมวัน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท แขวงดินแดง แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง และแขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2567

พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่แขวงตลิ่งชัน แขวงฉิมพลี แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน แขวงบางขุนนนท์ แขวงบางขุนศรี แขวงศิริราช แขวงบ้านช่างหล่อ แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด แขวงชนะสงคราม แขวงพระบรมมหาราชวัง แขวงตลาดยอด แขวงบวรนิเวศ แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร แขวงวัดโสมนัส แขวงบ้านบาตร แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย แขวงสี่แยกมหานาค แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต แขวงทุ่งพญาไท แขวงถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี แขวงปทุมวัน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท แขวงดินแดง แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง และแขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2567

ทนายความคดีปกครอง ทนายความคดีเวนคืน ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการเวนคืน โทร. 063-6364547

act-138

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมีความจําเป็นต้องดําเนินกิจการ รถไฟฟ้า ในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดสร้างโครงการขนส่งด้วยระบบรถไฟฟ้า และกิจการอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการ รถไฟฟ้าตามโครงการรถไฟฟ้า สายสีส้ม ช่วงบางขุนนนท์ – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในท้องที่แขวงตลิ่งชัน แขวงฉิมพลี แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน แขวงบางขุนนนท์ แขวงบางขุนศรี แขวงศิริราช แขวงบ้านช่างหล่อ แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด แขวงชนะสงคราม แขวงพระบรมมหาราชวัง แขวงตลาดยอด แขวงบวรนิเวศ แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร แขวงวัดโสมนัส แขวงบ้านบาตร แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย แขวงสี่แยกมหานาค แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต แขวงทุ่งพญาไท แขวงถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี แขวงปทุมวัน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท แขวงดินแดง แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง และแขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร เพื่ออํานวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การจราจรและการขนส่งอันเป็นกิจการ สาธารณูปโภค และเพื่อนําที่ดินไปชดเชยให้เกิดความเป็นธรรมแก่เจ้าของที่ดินที่ถูกเวนคืน สมควรกําหนดเขตที่ดิน ที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทําการสํารวจเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพย์ที่ต้องได้มาโดยแน่ชัด จึงจําเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้

———————————————

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง

– ปรึกษาคดี ติดต่อ 063-6364547
– Line: @prueklaw 

สำนักงานกฎหมาย พฤกษ์ แอนด์ พาร์ทเนอร์
สำนักงานทนายความคดีปกครอง ทนายความคดีปกครอง

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 230 กิโลโวลต์ บางปะกง – หนองจอก วงจรที่ 3 และวงจรที่ 4 (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า) ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า 230 กิโลโวลต์ บางปะกง – หนองจอก วงจรที่ 3 และวงจรที่ 4 (ช่วงปรับแก้ทิศทางและแนวเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า) ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง พร้อมให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโครงข่ายไฟฟ้า ที่ดินอยู่ในแนวเขตสายไฟฟ้า การฟ้องเรียกค่าทดแทนเพิ่ม การอุทธรณ์เงินค่าทดแทน การฟ้องคดีเกี่ยวกับการเวนคืนและการรอนสิทธิ การจัดทำคำอุทธรณ์คัดค้านการกำหนดแนวเขต การฟ้องเพิกถอนประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน การฟ้องเรียกค่าทดแทน ทนายความคดีโครงข่ายไฟฟ้า ปรึกษาคดี โทร. 063-6364547

erc-48

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน

สำนักงานกฎหมาย พฤกษ์ แอนด์ พาร์ทเนอร์
สำนักงานทนายความคดีปกครอง

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

ประสบอุบัติเหตุจากต้นไม้ริมทางหลวงล้มทับ | เรื่องเด่น คดีปกครอง

ประสบอุบัติเหตุจากต้นไม้ริมทางหลวงล้มทับ

ละเมิดต่อบุคคลภายนอก : ละเมิดจากการละเลย (กรณีประสบอุบัติเหตุจากต้นไม้ริมทางหลวงล้มทับ)

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  1. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (มาตรา 420)
  2. พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 (มาตรา 4 มาตรา 19)
  3. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2552 (ข้อ 2 (2))

เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2560 ขณะผู้ฟ้องคดีกําลังขับรถยนต์ไปปฏิบัติงานที่สํานักงานเทศบาลตําบล ปรากฏว่าต้นหว้าขนาดใหญ่ซึ่งขึ้นอยู่ในทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202 ได้โค่นล้มลงมาทับรถยนต์ของผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหาย ผู้ฟ้องคดีได้รับบาดเจ็บ โดยที่มาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 บัญญัติให้อธิบดีกรมทางหลวง (ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2) มีหน้าที่กํากับ ตรวจตรา และควบคุมทางหลวง… ซึ่งหมายความรวมถึงที่ดิน พืช พันธุ์ไม้ทุกชนิด เจ้าหน้าที่ของกรมทางหลวง (ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1) จึงมีหน้าที่ในการจัดให้มีและบํารุงรักษาต้นไม้ในเขตทางหลวงให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย โดยต้นไม้ในเขตทางหลวงดังกล่าวไม่ได้จํากัดเฉพาะต้นไม้ที่เจ้าหน้าที่ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ปลูกเท่านั้น แต่หมายความรวมถึงต้นไม้ที่ขึ้นเองตามธรรมชาติที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ด้วย เพื่อมิให้กีดขวางเส้นทางสัญจรหรือก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ใช้เส้นทาง และหากเกิดความเสียหายใด ๆ จากต้นไม้ในเขตทางหลวง กรณีจึงเป็นเรื่องที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 ทั้งนี้ เว้นแต่กรณีที่เป็นเหตุสุดวิสัย ดังนั้น ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 จึงมีอํานาจหน้าที่โดยตรงในการดําเนินกิจการต่าง ๆ ในเขตรับผิดชอบของทางหลวงเพื่อประโยชน์ในการจราจรสาธารณะทางบก รวมถึงการจัดให้มีและบํารุงรักษาต้นไม้ที่อยู่บนพื้นที่เขตทางหลวงให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย ตามข้อ 2 (2) ของกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2552

เมื่อพิจารณาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลักษณะสภาพอากาศในวันเกิดเหตุปรากฏว่า กรมอุตุนิยมวิทยาได้มีประกาศกรมอุตุนิยมวิทยาว่า ในช่วงระหว่างวันที่ 24 ถึงวันที่ 29 กรกฎาคม 2560 พายุโซนร้อนเชินกาจะทําให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากเป็นบริเวณกว้างหลายพื้นที่ ซึ่งอาจทําให้เกิดน้ําท่วมฉับพลัน น้ําป่าไหลหลาก หรือน้ําล้นตลิ่งด้วย โดยข้อมูลดังกล่าวสอดคล้องกับภาพถ่ายที่คู่กรณีทั้งสองฝ่ายนําส่งว่า ในวันและเวลาเกิดเหตุได้มีพายุลมแรงและฝนตกหนักต่อเนื่องยาวนานในบริเวณที่เกิดเหตุ อีกทั้ง เมื่อพิจารณารายงานผลการสอบสวนของคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด สรุปได้ว่า นาย พ. หัวหน้าหมวดทางหลวงอํานาจเจริญ ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบทางหลวงหมายเลข 202 ที่เกิดเหตุ ได้ให้ถ้อยคําว่า ได้มีการกําหนดแผนการดูแลบํารุงรักษาต้นไม้ในสายทางที่รับผิดชอบเป็นแผนการปฏิบัติงานประจําเดือนของหมวดทางหลวงโดยได้ตัดแต่งกิ่ง ตัดไม้แห้งและไม้ยืนต้นที่เอนเอียงโน้มเข้าหาทาง มีการตรวจสภาพต้นไม้เป็นประจำปรากฏตามบันทึกค่าใช้จ่ายงานบํารุงปกติ ใบขออนุญาตการใช้รถส่วนกลาง ภาพถ่ายการดูแลบํารุงรักษาตัดแต่งกิ่งต้นไม้ โดยในวันเกิดเหตุ นาย พ. ได้ไปตรวจสอบและตัดต้นไม้ที่ล้มทับขวางทางหลวง โดยได้ตรวจสอบบริเวณจุดเกิดเหตุด้วย แต่ไม่พบว่ามีต้นไม้เอนเอียงเข้าหาทางหรือล้มทับขวางทาง ประกอบกับต้นไม้ที่ล้มทับรถยนต์ของผู้ฟ้องคดีเป็นไม้สดเขียวชอุ่ม ไม่มีลักษณะผุกลวง ไม่มีลักษณะ เอนเอียง จึงไม่อาจคาดหมายได้ว่าต้นไม้ดังกล่าวจะโค่นล้ม อีกทั้ง ระยะเวลาที่ตรวจสอบห่างจาก เวลาที่เกิดเหตุไม่กี่ชั่วโมง โดยอุบัติเหตุดังกล่าวเกิดขึ้นเวลาประมาณ 8 นาฬิกา การที่ต้นไม้โค่นล้ม จึงเป็นเหตุสุดวิสัยเนื่องจากภัยธรรมชาติของพายุเซินกา คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงฯ เห็นว่า นาย พ.ได้ปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยตรวจตราดูแลบํารุงรักษาทางที่เกิดเหตุและมีการตรวจสอบสภาพต้นไม้โดยตัดแต่งกิ่งต้นไม้อันจะเป็นอันตรายตามสายทางที่เกิดเหตุแล้ว ถือว่าได้ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบ ของทางราชการ และไม่เป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความประมาทเลินเล่อ นอกจากนี้ ข้อเท็จจริง ปรากฏตามภาพถ่ายการตัดแต่งกิ่งต้นไม้บริเวณทางหลวงหมายเลข 202 ของเจ้าหน้าที่หมวดทางหลวงอํานาจเจริญที่ปฏิบัติงานในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนกรกฎาคม 2560 ประกอบใบขออนุญาตการใช้ รถส่วนกลางเพื่อออกไปตัดต้นไม้ที่แห้งตายในไหล่ทาง รวมถึงบันทึกข้อความขออนุมัติทํางานนอกเวลาราชการและวันหยุดราชการ ซึ่งระบุว่า ตามที่ได้มีฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน ทําให้ผิวทาง ชํารุดเสียหายและมีหลุมบ่อจํานวนมาก จําเป็นต้องเร่งซ่อมแซมให้แล้วเสร็จโดยเร็ว จึงขออนุมัติทํางานนอกเวลาราชการระหว่างวันที่ 28 ถึงวันที่ 30 กรกฎาคม 2560 แสดงให้เห็นว่า เจ้าหน้าที่ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ได้มีการวางแผนดูแลบํารุงรักษาตัดแต่งต้นไม้ตามระยะเวลาที่กําหนด กรณีจึงต้อง ถือว่าเจ้าหน้าที่ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ได้ดูแลบํารุงรักษาต้นไม้ทั้งในช่วงก่อนและหลังวันที่เกิดเหตุตามอํานาจหน้าที่ด้วยความระมัดระวังตามสมควรแล้ว

จากการพิจารณาพยานหลักฐานต่าง ๆ รวมทั้งภาพถ่ายทั้งหมด เห็นได้ว่า ในวันเกิดเหตุ ได้มีพายุลมแรงและฝนตกหนักต่อเนื่อง จึงเชื่อได้ว่าการที่ต้นหว้าโค่นล้มลงทับรถยนต์ของผู้ฟ้องคดี เป็นผลโดยตรงจากภัยธรรมชาติของพายุโซนร้อนเซินกา ซึ่งสังเกตได้จากการที่ต้นหว้ายังอยู่ในสภาพ สมบูรณ์ มีใบเขียวชอุ่ม และไม่มีลักษณะผุกลวงอันอาจจะก่อให้เกิดอันตราย จึงเป็นการหักโค่นล้ม ด้วยเหตุที่มีฝนตกหนักและพายุลมแรง ไม่ได้เกิดจากขาดการดูแลบํารุงรักษาตามมาตรฐานงานบํารุงทางปกติ ประกอบกับต้นหว้าที่หักโค่นมีลักษณะเป็นต้นไม้สด มิใช่ต้นไม้ยืนต้นตายหรือต้นไม้ผุกลวง จึงไม่อาจคาดหมายได้ว่าต้นไม้ดังกล่าวจะหักโค่นล้มลง นอกจากนี้ เหตุอันเกิดจากภัยธรรมชาติของพายุโซนร้อนเงินกาไม่ได้ส่งผลให้เฉพาะต้นหว้าโค่นล้มทับรถยนต์ของผู้ฟ้องคดีเพียงคนเดียว แต่ผลกระทบจากพายุโซนร้อนเงินกาดังกล่าวยังทําให้เกิดเหตุต้นไม้ล้มทับขวางทางอีกหลายต้น และหลายแห่งในทางหลวงหมายเลข 202 กรณีจึงเห็นได้ว่าแม้เจ้าหน้าที่ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 จะปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลและบํารุงรักษาต้นไม้ในเขตทางหลวงอย่างทั่วถึงเพียงใด แต่เมื่อเกิดเหตุ วาตภัยจากพายุโซนร้อนเป็นกาซึ่งเป็นภัยธรรมชาติก็ไม่อาจป้องกันมิให้เกิดภยันตรายจากการที่ต้นไม้ โค่นล้มในลักษณะนี้ได้ และไม่สามารถป้องกันมิให้เกิดภยันตรายแก่ผู้ใช้ทางได้ ดังนั้น การที่ต้นหว้าหักโค่นล้มทับรถยนต์ของผู้ฟ้องคดีจึงเกิดจากลมพายุฝนหรือวาตภัย ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ผู้ถูกฟ้องคดีทั้งสองไม่อาจป้องกันไม่ให้เกิดภยันตรายได้จึงถือเป็นเหตุสุดวิสัยตามมาตรา 8 แห่งประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ กรณีจึงไม่อาจถือได้ว่าเจ้าหน้าที่ของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมาย กําหนดให้ต้องปฏิบัติในการดูแลบํารุงรักษาต้นไม้ในเขตทางหลวง จนเป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย และไม่เป็นการกระทําละเมิดต่อผู้ฟ้องคดีตามมาตรา 420 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

โดยสรุป หากอุบัติเหตุเกิดขึ้นจากการที่หน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในการดูแลรักษาต้นไม้ริมทางดังกล่าว หน่วยงานต้องรับผิดชดใช้ค่าเสียหายแก่ผู้เสียหาย ทว่าจากข้อเท็จจริงในคดีนี้การที่ต้นหว้าโค่นล้มลงทับรถยนต์ของผู้ฟ้องคดีเป็นผลโดยตรงจากพายุโซนร้อน ซึ่งสังเกตได้จากการที่ต้นหว้าอยู่ในสภาพสมบูรณ์ มีใบเขียวชอุ่ม ไม่มีลักษณะผุกลวงอันอาจจะก่อให้เกิดอันตราย จึงไม่ได้เป็นการหักโค่นล้มจากขาดการดูแลบํารุงรักษาตามมาตรฐานปกติ นอกจากนี้ ข้อเท็จจริงยังปรากฏว่า เจ้าหน้าที่ทางหลวงได้มีการตัดแต่งกิ่ง ตัดไม้แห้งและไม้ยืนต้น ที่เอนเอียงโน้มเข้าหาทาง และมีการตรวจสภาพต้นไม้เป็นประจํา ประกอบกับพายุโซนร้อนยังทําให้ต้นไม้ล้มอีกหลายต้นและหลายแห่ง แม้เจ้าหน้าที่ได้ดูแลบํารุงรักษาตัดแต่งต้นไม้อย่างทั่วถึงเพียงใด ก็ไม่อาจป้องกันภัยธรรมชาติจากพายุฝนหรือวาตภัยได้ จึงถือเป็นเหตุสุดวิสัยไม่อาจถือได้ว่าเจ้าหน้าที่ละเลยต่อหน้าที่ และไม่เป็นการกระทําละเมิด

คําสําคัญ : ละเมิดต่อบุคคลภายนอก/ละเมิดจากการละเลย/ต้นไม้ริมทาง/การบํารุงรักษาต้นไม้/ ต้นไม้สด/พายุฝนลมแรง วาตภัย ไม่อาจป้องกันได้/เหตุสุดวิสัย/ละเมิดหรือไม่

คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.322/2566

ที่มา : สสค.

———————————————

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
– ปรึกษาคดี ติดต่อ 063-6364547
– Line: @prueklaw 

สำนักงานกฎหมาย พฤกษ์ แอนด์ พาร์ทเนอร์
สำนักงานทนายความคดีปกครอง ทนายความคดีปกครอง