เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง ตอนที่ 2

เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง ตอนที่ 2

เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง ตอนที่ 2

เงื่อนไขในการฟ้องคดีปกครองนั้น เป็นสาระสำคัญที่ศาลปกครองต้องพิจารณาในเบื้องต้นว่า คดีที่ฟ้องต่อศาลปกครองนั้น ศาลจะสามารถรับคำฟ้องดังกล่าวไว้พิจารณาได้หรือไม่  ซึ่งจากเงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง ตอนที่ 1 ที่ได้กล่าวถึงในเรื่องของคำฟ้องที่ต้องมีรายการครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนด การเป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีปกครอง และการดำเนินการตามขั้นตอนและวิธีการที่กฎหมายกำหนดแล้ว ยังมีเงื่อนไขในการฟ้องคดีปกครอง ดังต่อไปนี้

4. ต้องฟ้องคดีภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด

4.1 ระยะเวลาการฟ้องขอให้เพิกถอนกฎ คำสั่งทางปกครอง ขอให้ศาลสั่งห้ามการกระทำทางปกครองอื่น

– การฟ้องคดีจะต้องยื่นฟ้องภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี ม.49 พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ

4.2 ระยะเวลาในการฟ้องคดีขอให้ศาลสั่งให้หัวหน้าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ปฏิบัติหน้าที่ภายในเวลาที่ศาลกำหนด

– การฟ้องคดีจะต้องยื่นฟ้องภายใน 90 วัน นับแต่วันที่พ้นกำหนด 90 วัน นับแต่วันที่ผู้ฟ้องคดีได้มีหนังสือร้องขอต่อหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด

4.3 ระยะเวลาในการฟ้องคดีเกี่ยวกับการกระทำละเมิดของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ

– การฟ้องคดีเกี่ยวกับการกระทำละเมิดของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันที่มีเหตุแห่งการฟ้องคดี

4.4 ระยะเวลาในการฟ้องคดีเกี่ยวกับความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงานทางปกครองหรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐ

– การฟ้องคดีเกี่ยวกับความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงานทางปกครองหรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐให้ฟ้องภายใน 1 ปี นับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันที่มีเหตุแห่งการฟ้องคดี

4.5 ระยะเวลาในการฟ้องคดีเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง

– การฟ้องคดีเกี่ยวกับความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงานทางปกครองหรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐให้ฟ้องภายใน 5 ปี นับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันที่มีเหตุแห่งการฟ้องคดี

4.6 ระยะเวลาในการฟ้องคดีเกี่ยวกับการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะหรือสถานะของบุคคล

– การฟ้องคดีปกครองที่เกี่ยวกับการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ หรือสถานะของบุคคล จะยื่นฟ้องเมื่อใดก็ได้

4.7 ระยะเวลาในการฟ้องคดีในกรณีที่จะเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมหรือมีเหตุจำเป็นอื่น

– การฟ้องคดีปกครองที่ยื่นเมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาการฟ้องคดีแล้ว ถ้าศาลปกครองเห็นว่า คดีที่ยื่นฟ้องนั้นจะเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมหรือมีเหตุจำเป็นอื่นโดยศาลเห็นเองหรือคู่กรณีมีคำขอ ศาลจะรับไว้พิจารณาก็ได้

อ่านต่อ : เงื่อนไขเกี่ยวกับระยะเวลาการฟ้องคดีปกครอง

5. ค่าธรรมเนียมศาล

การฟ้องคดีต่อศาลปกครองนั้นโดยหลักแล้วไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาล เว้นแต่เป็นการการฟ้องขอให้สั่งให้ใช้เงินหรือส่งมอบทรัพย์สินอันสืบเนื่องจากคดีตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (3) หรือ (4)  ซึ่งการฟ้องคดีดังกล่าวต้องชำระค่าธรรมเนียมศาลให้ถูกต้อง

6. ผู้ฟ้องคดีต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถตามกฎหมาย

– การฟ้องคดีต่อศาลปกครองผู้ฟ้องคดีต้องมีความสามารถในการใช้สิทธิ (ข้อ 26 ระเบียบที่ประชุมใหญ่ฯ)

– ผู้เยาว์ซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี บริบูรณ์ ศาลอาจอนุญาตให้ฟ้องคดีปกครองด้วยตัวเองได้ ถ้าศาลเห็นสมควร (ข้อ 27 ระเบียบที่ประชุมใหญ่ฯ)         

7. ต้องไม่เป็นการฟ้องซ้อน ฟ้องซ้ำ ดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ

ในการฟ้องซ้อนนั้น เป็นกรณีที่นับแต่เวลาที่ได้ยื่นคำฟ้องต่อศาลแล้ว คดีนั้นอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาล ห้ามมิให้ผู้ฟ้องคดียื่นคำฟ้องเรื่องเดียวกันนั้นต่อศาลเดียวกันหรือต่อศาลอื่นอีก หากผู้ฟ้องคดียื่นคำฟ้องในเรื่องเดียวกันนั้น จะเป็นกรณีการฟ้องซ้อน เช่นเดียวกับในกรณีการฟ้องซ้ำ หรือดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ กล่าวคือ เมื่อศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดคดีหรือประเด็นข้อใดแห่งคดีแล้ว ห้ามมิให้ดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลนั้นอันเกี่ยวกับคดีหรือประเด็นที่ได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้วนั้น

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง 

 

เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง ตอนที่ 1

เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง ตอนที่ 1

เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง ตอนที่ 1

ในการฟ้องคดีต่อศาลปกครองนั้น นอกเหนือจากการพิจารณาว่าคดีนั้นอยู่ในอำนาจของศาลปกครองแล้ว สิ่งสำคัญประการต่อมาที่ต้องพิจารณา ก็คือเรื่องเงื่อนไขเกี่ยวกับการฟ้องคดีปกครอง โดยเงื่อนไขการฟ้องคดีปกครองนั้น เป็นสาระสำคัญที่ศาลปกครองต้องพิจารณาในเบื้องต้นว่า คดีที่ฟ้องต่อศาลปกครองนั้น ศาลจะสามารถรับคำฟ้องดังกล่าวไว้พิจารณาได้หรือไม่ ซึ่งเงื่อนไขในการฟ้องคดีมีดังต่อไปนี้

1. คำฟ้องที่ยื่นต่อศาลปกครอง

คำฟ้องที่ยื่นต่อศาลนั้นแม้กฎหมายจะมิได้กำหนดแบบของคำฟ้องไว้ แต่ก็ต้องมีรายการตามที่กฎหมายกำหนด โดยลักษณะของคำฟ้องนั้น ต้องทำเป็นหนังสือ ใช้ถ้อยคำสุภาพและอย่างน้อยต้องมีรายการ

1.1 ชื่อที่อยู่ของผู้ฟ้องคดี

1.2 ชื่อผู้ถูกฟ้องคดี (หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ)

1.3 การกระทำที่เป็นเหตุแห่งการฟ้องคดี พร้อมข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์

1.4 คำขอของผู้ฟ้องคดี โดยต้องเป็นคำขอที่ศาลออกคำบังคับให้ได้

1.5 ลายมือชื่อของผู้ฟ้องคดี

2. ต้องเป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดี

2.1 ผู้ฟ้องคดีต้องเป็นผู้มีส่วนได้เสีย หรือเป็นผู้เสียหายในคดีที่ฟ้องนั้น โดยผู้มีส่วนได้เสียในการฟ้องคดีแยกเป็น 2 ประเภท คือ

– คดีฟ้องเพิกถอนกฎ คำสั่งทางปกครอง หรือละเลยล่าช้า ใช้หลักผู้เสียหายอย่างกว้างคือ เพียงได้รับความกระทบกระเทือนจากการกระทำนั้น ก็ถือเป็นผู้มีส่วนได้เสีย

– คดีละเมิดหรือสัญญาทางปกครอง ใช้หลักผู้เสียหายอย่างแคบ คือ ต้องถูกโต้แย้งสิทธิในเรื่องที่จะฟ้องนั้น โดยต้องเป็นคู่สัญญาหรือผู้ถูกกระทำละเมิดโดยตรง นอกจากเป็นคู่สัญญาแล้วยังต้องถูกโต้แย้งสิทธิแล้วเท่านั้น

2.2 ผู้ตรวจการแผ่นดิน

อ่านต่อ : เงื่อนไขการเป็นผู้เดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายในคดีปกครอง

3. ต้องดำเนินการตามขั้นตอนและวิธีการที่กฎหมายกำหนดแล้ว

3.1 กรณีมีกฎหมายกำหนดขั้นตอนหรือวิธีการสำหรับแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายไว้โดยเฉพาะ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายเฉพาะกำหนด

3.2 กรณีไม่มีกฎหมายกาหนดขั้นตอนหรือวิธีการสำหรับแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายไว้โดยเฉพาะ ต้องใช้สิทธิอุทธรณ์ตามกฎหมายทั่วไป ตามมาตรา 44 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

อ่านต่อ : เงื่อนไขเกี่ยวกับการดำเนินการตามขั้นตอนและวิธีการที่กฎหมายกำหนดก่อนการฟ้องคดีปกครอง

ข้อยกเว้นไม่ต้องอุทธรณ์ต่อฝ่ายปกครองก่อนฟ้องคดี

(1) กรณีฟ้องเพิกถอน กฎ

(2) คำสั่งทางปกครองที่ออกโดยรัฐมนตรี (มาตรา 44 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539)

(3) คำสั่งทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการต่างๆ ไม่ว่าจะจัดตั้ง ขึ้นตามกฎหมายหรือไม่ (มาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539)

(4) ไม่ใช่คู่กรณี (มาตรา 44 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง พ.ศ. 2539)

(5) คำสั่งทั่วไป หรือคำสั่งอื่น

(6) คำสั่งที่มีลักษณะที่ผิดพลาดอย่างชัดแจ้งและร้ายแรง ซึ่งถือ เสมือนว่าไม่มีการออกคำสั่งทางปกครอง

(7) คำสั่งทางปกครองที่ระบุให้ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับคำสั่งฟ้องคดีต่อศาลปกครองได้โดยไม่ต้องอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวเสียก่อน

(8) กรณีมีกฎหมายเฉพาะกำหนดให้ผู้ที่ไม่เห็นด้วยกับคำสั่งฟ้องคดีต่อศาลปกครองได้โดยไม่ต้องอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวเสียก่อน

(9) กรณีที่กฎหมายกำหนดให้คาสั่งทางปกครองใดให้เป็นที่สุด คู่กรณีไม่ต้องอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าว

(10) กรณีการฟ้องละเมิดอันเกิดจากคำสั่งทางปกครองไม่ต้อง อุทธรณ์คำสั่งดังกล่าว

เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครองยังไม่หมดแต่เพียงเท่านี้นะครับทนายความคดีปกครอง ที่ปรึกษาคดีปกครองขออนุญาตกล่าวต่อในตอนต่อไป เพราะในเรื่องเงื่อนไขการฟ้องคดีปกครองนี้ถือว่าสำคัญเป็นอย่างยิ่งครับ โดยในการพิจารณามีคำสั่งรับคำฟ้องของศาลปกครองนั้นก็ต้องพิจารณาในเรื่องเงื่อนไขการฟ้องคดีปกครองว่าคดีนั้นเป็นไปตามเงื่อนไขการฟ้องคดีที่ศาลจะสามารถมีคำสั่งรับคำฟ้องไว้พิจารณาได้หรือไม่ 

เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง ตอนที่ 2

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง 

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลคลองควาย ตำบลบางเตย ตำบลสามโคก ตำบลบ้านปทุม และตำบลเชียงรากใหญ่ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2565

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลคลองควาย ตำบลบางเตย ตำบลสามโคก ตำบลบ้านปทุม และตำบลเชียงรากใหญ่ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2565

ทนายความคดีเวนคืน พร้อมให้คำปรึกษาคดีเกี่ยวกับการเวนคืน ปรึกษาคดี โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลคลองควาย ตำบลบางเตย ตำบลสามโคก ตำบลบ้านปทุม และตำบลเชียงรากใหญ่ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2565

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมีความจำเป็นต้องสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3214 สายบ้านพร้าว – คลองห้า ตอนบางเตย – บ้านพร้าว ในท้องที่ตำบลคลองควาย ตำบลบางเตย ตำบลสามโคก ตำบลบ้านปทุม และตำบลเชียงรากใหญ่ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การจราจรและการขนส่งอันเป็นกิจการสาธารณูปโภค สมควรกำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทำการสำรวจเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องได้มาโดยแน่ชัด จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้

บทความ – ขั้นตอนที่ควรรู้เมื่อถูกเวนคืน

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน แขวงคลองถนน แขวงออเงิน เขตสายไหม และแขวงสามวาตะวันตก แขวงสามวาตะวันออก เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน แขวงคลองถนน แขวงออเงิน เขตสายไหม และแขวงสามวาตะวันตก แขวงสามวาตะวันออก เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565

ทนายความคดีเวนคืน พร้อมให้คำปรึกษาคดีเกี่ยวกับการเวนคืน ปรึกษาคดี โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน แขวงคลองถนน แขวงออเงิน เขตสายไหม และแขวงสามวาตะวันตก แขวงสามวาตะวันออก เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้ทำการสารวจเขตที่ดินเพื่อเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน เพื่อสร้างทางหลวงท้องถิ่น สายเชื่อมระหว่างถนนสุขาภิบาล 5 (ถนนรัตนโกสินทร์สมโภช) กับถนนนิมิตใหม่ พ.ศ. 2560 ในท้องที่แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน แขวงคลองถนน แขวงออเงิน เขตสายไหม และแขวงสามวาตะวันตก แขวงสามวาตะวันออก เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร ยังไม่แล้วเสร็จ สมควรกำหนดเขตที่ดิน
ที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทำการสำรวจเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องได้มาโดยแน่ชัด จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้

ทนายความคดีปกครอง

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลป่ากุมเกาะ ตำบลในเมือง ตำบลคลองยาง อำเภอสวรรคโลก ตำบลศรีนคร ตำบลคลองมะพลับ อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย และตำบลไร่อ้อย ตำบลคอรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2565

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลป่ากุมเกาะ ตำบลในเมือง ตำบลคลองยาง อำเภอสวรรคโลก ตำบลศรีนคร ตำบลคลองมะพลับ อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย และตำบลไร่อ้อย ตำบลคอรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2565

ทนายความคดีเวนคืน พร้อมให้คำปรึกษาคดีเกี่ยวกับการเวนคืน ปรึกษาคดี โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลป่ากุมเกาะ ตำบลในเมือง ตำบลคลองยาง อำเภอสวรรคโลก ตำบลศรีนคร ตำบลคลองมะพลับ อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย และตำบลไร่อ้อย ตำบลคอรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2565

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมีความจำเป็นต้องก่อสร้างและปรับปรุงประตูระบายน้ำ อาคารประกอบ และสิ่งจำเป็นในการชลประทานอื่นตามโครงการปรับปรุงคลองยม – น่าน จังหวัดสุโขทัย ในท้องที่ตำบลป่ากุมเกาะ ตำบลในเมือง ตำบลคลองยาง อำเภอสวรรคโลก ตำบลศรีนคร ตำบลคลองมะพลับ อำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย และตำบลไร่อ้อย ตำบลคอรุม อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อประโยชน์แก่การชลประทานสำหรับพื้นที่การเกษตร การอุปโภคและบริโภค ตลอดจนการป้องกันและบรรเทาอุทกภัย สมควรกำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทำการสำรวจเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องได้มาโดยแน่ชัดจึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้

ทนายความคดีปกครอง

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลแก่งดินสอ อำเภอนาดี และตำบลบ้านนา ตำบลเมืองเก่า ตำบลบ่อทอง อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ. 2565

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลแก่งดินสอ อำเภอนาดี และตำบลบ้านนา ตำบลเมืองเก่า ตำบลบ่อทอง อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ. 2565

ทนายความคดีเวนคืน พร้อมให้คำปรึกษาคดีเกี่ยวกับการเวนคืน ปรึกษาคดีทนายความคดีปกครอง โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลแก่งดินสอ อำเภอนาดี และตำบลบ้านนา ตำบลเมืองเก่า ตำบลบ่อทอง อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ. 2565

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากกรมชลประทานได้ทำการสำรวจเขตที่ดินเพื่อเวนคืนตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลแก่งดินสอ อำเภอนาดี และตำบลบ้านนา ตำบลเมืองเก่า ตำบลบ่อทอง อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ. 2559 เพื่อก่อสร้างระบบส่งน้ำและระบบระบายน้ำพร้อมอาคารประกอบ ตามโครงการห้วยโสมงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ยังไม่แล้วเสร็จ สมควรกำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทำการสำรวจเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องได้มาโดยแน่ชัด จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้

บทความ – ขั้นตอนที่ควรรู้เมื่อถูกเวนคืน

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2565

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2565

ทนายความคดีเวนคืน พร้อมให้คำปรึกษาคดีเกี่ยวกับการเวนคืน ปรึกษาคดีทนายความคดีปกครอง โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้าเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2565

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมีความจำเป็นต้องก่อสร้างประตูระบายน้ำ อาคารประกอบ และสิ่งจำเป็นในการชลประทานอื่นตามโครงการประตูระบายน้ำกลางคลองพระองค์ไชยานุชิต จังหวัดฉะเชิงเทรา ในท้องที่ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อประโยชน์แก่การชลประทานสำหรับพื้นที่การเกษตร การอุปโภคและบริโภค ตลอดจนการป้องกันและบรรเทาอุทกภัย สมควรกำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทำการสารวจเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องได้มาโดยแน่ชัด จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้

บทความ – ขั้นตอนที่ควรรู้เมื่อถูกเวนคืน

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลบ้านพรุ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ และตำบลทุ่งลาน ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2565

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลบ้านพรุ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ และตำบลทุ่งลาน ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2565

ทนายความคดีเวนคืน พร้อมให้คำปรึกษาคดีเกี่ยวกับการเวนคืน ปรึกษาคดีทนายความคดีปกครอง โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลบ้านพรุ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ และตำบลทุ่งลาน ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2565

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมีความจำเป็นต้องสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 425 สายถนนวงแหวนรอบเมืองหาดใหญ่ด้านตะวันออก ตอนบ้านพรุ – ทางเข้าสนามบินหาดใหญ่ ในท้องที่ตำบลบ้านพรุ ตำบลควนลัง อำเภอหาดใหญ่ และตำบลทุ่งลาน ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การจราจรและการขนส่งอันเป็นกิจการสาธารณูปโภค สมควรกำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทาการสำรวจเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องได้มาโดยแน่ชัด จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้

บทความ – ขั้นตอนที่ควรรู้เมื่อถูกเวนคืน

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลจานใหญ่ อำเภอกันทรลักษ์ และตำบลเสียว ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2565

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลจานใหญ่ อำเภอกันทรลักษ์ และตำบลเสียว ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2565

ทนายความคดีเวนคืน พร้อมให้คำปรึกษาคดีเกี่ยวกับการเวนคืน ปรึกษาคดีทนายความคดีปกครอง โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลจานใหญ่ อำเภอกันทรลักษ์ และตำบลเสียว ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2565

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมีความจำเป็นต้องขยายทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2085 สายกันทรลักษ์ – กันทรารมย์ ตอนบ้านจาน – หนองงูเหลือม และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2178 สายวารินชาราบ – หนองงูเหลือม ในท้องที่ตำบลจานใหญ่ อำเภอกันทรลักษ์ และตำบลเสียว ตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การจราจรและการขนส่งอันเป็นกิจการสาธารณูปโภค สมควรกำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทาการสำรวจเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องได้มาโดยแน่ชัด จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้

บทความ – ขั้นตอนที่ควรรู้เมื่อถูกเวนคืน

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลวัดป่า ตำบลตาลเดี่ยว และตำบลหนองไขว่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2565

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลวัดป่า ตำบลตาลเดี่ยว และตำบลหนองไขว่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2565

ทนายความคดีเวนคืน พร้อมให้คำปรึกษาคดีเกี่ยวกับการเวนคืน ปรึกษาคดีทนายความคดีปกครอง โทร. 063-6364547

พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลวัดป่า ตำบลตาลเดี่ยว และตำบลหนองไขว่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2565

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากมีความจำเป็นต้องสร้างทางหลวงชนบทตามแนวถนนสาย ค ตามโครงการผังเมืองรวมเมืองหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ในท้องที่ตำบลวัดป่า ตำบลตาลเดี่ยว และตำบลหนองไขว่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่ออำนวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่การจราจรและการขนส่งอันเป็นกิจการสาธารณูปโภค สมควรกำหนดเขตที่ดินที่จะเวนคืนในท้องที่ดังกล่าว เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีสิทธิเข้าไปทำการสารวจเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องได้มาโดยแน่ชัด จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้

บทความ – ขั้นตอนที่ควรรู้เมื่อถูกเวนคืน

ทนายพฤกษ์ คดีปกครอง
โทร. 063-6364547